ศาลรธน. ชี้ พ.ร.ก.ขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานฯขัดรัฐธรรมนูญ

เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงข้างมาก 8 ต่อ 1 วินิจฉัยว่า พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 พ.ศ.2566 ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญมาตรา 172 วรรคหนึ่ง

Read More

พรรคแกนนำไม่มีแนวคิด ‘ปฏิรูปตำรวจ’ ‘ก้าวไกล’ จะจับมือด้วยหรือไม่?

   วันนี้ได้ผ่านพ้นอำนาจอธิปไตยในมือของประชาชนไปประมาณสี่ปี เพื่อที่ทุกคนจะได้ ตัดสินใจกันใหม่ แต่ละพรรคได้ทำหรือ ไม่ได้ทำอะไร ตามที่หาเสียงกันโขมงโฉงเฉงไว้!

Read More

‘แอม ไซยาไนด์’ รู้ดีว่า ‘ตำรวจไทย’ จะไม่ ‘สอบสวนชันสูตรพลิกศพ’ ให้พบเหตุการตายที่แท้จริง   

  คดีที่อยู่ในความสนใจของคนไทยรวมทั้งชาวโลกขณะนี้ก็คือ กรณีมีการกล่าวหาจับกุมนางสรารัตน์ รังสิวุฒาภรณ์ หรือ แอม ไซยาไนด์ ข้อหา ฆ่า ผู้คนที่รู้จักสนิทสนมทั้งหญิงชายทั่วไทยอย่าง ต่อเนื่องมาหลายปี รวมถึงสิบสี่ศพ!

Read More

‘สป.ยธ.’ รุกหนัก ทุกพรรคการเมือง ให้กำหนดนโยบาย ‘ปฏิรูปตำรวจและการสอบสวน’ เต็มรูปแบบ

3 พ.ค.2566 – ที่พรรคประชาธิปัตย์ (ปขป.) ร.ต.อ.ผศ.ดร. วิเชียร ตันศิริคงคล คณบดีคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ ม.บูรพา ประธานสถาบันเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม(สป.ยธ.) และ พ.ต.อ.วิรุตม์ ศิริสวัสดิบุตร เลขาธิการสป.ยธ.ได้ยื่นหนังสือต่อ ผอ.พรรคปชป. ให้นำเรียนหัวหน้าพรรค ปชป.รวมทั้งส่งหนังสือถึง “หัวหน้าพรรคทุกพรรค” ให้กำหนดนโยบายปฏิรูปตำรวจและการสอบสวนโดยเร็ว ในเรื่องสำคัญอันการปฏิรูปแท้จริง ดังนี้

Read More

ไม่มีกฎหมายให้อำนาจ เจ้าหน้าที่จะละเมิดสิทธิเสรีภาพประชาชนไม่ได้

ในยุคสมัย King John ละเมิดประเพณี Feudalism ในการเก็บภาษีมีการเปลี่ยนแปลงอัตราและแนวทางอย่างไร้ขอบเขต มีการตรวจค้น จับกุมลงโทษ จำคุก กักขัง ทรมาน เนรเทศฯ บุคคลตามอำเภอใจ Barrons หรือชนชั้นขุนนางพยายามให้พระมหากษัตริย์ยอมรับกระบวนการทางกฎหมายและยังให้รับว่าพระราชประสงค์ของพระมหากษัตริย์ต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย จนยอมตรา King John’s Magna Carta ในปี 1215

Read More

‘งานสอบสวน ตร.’ ล้มละลาย สงสัย ‘เหตุการตาย’ ไม่ผ่าศพ จบไปแล้ว!

สิ่งสำคัญที่สุดของมนุษย์ไม่ว่ายากดีมีจนหรือชนชั้นใดก็คือ การได้มีชีวิตและลมหายใจนั่งดูโลกจนสิ้นอายุขัยไปตามธรรมชาติ

          ในทุกสังคมประชาธิปไตย กระบวนการตามกฎหมายที่เป็นหลักประกันว่าผู้ ทำให้คนอื่นตายโดยมิชอบ ต้องถูกลงโทษอาญาทุกคนก็คือ

Read More

ศูนย์นิติศาสตร์ มธ.ชี้พ.ร.ก.ขยายการบังคับใช้พ.ร.บ.ทรมานอุ้มหายฯ ขัดรัฐธรรมนูญ ลุ้นศาลรธน.นัดวินิจฉัย 18 พ.ค.

นายสุรพงษ์ กองจันทึก ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรม เปิดเผยว่า ศูนย์นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล ผู้อำนวยการ ได้ยื่นหนังสือความเห็นทางวิชาการกฎหมายต่อประธาน

Read More

อัยการไทยสั่งคดียุติธรรมได้ ไม่จำเป็นต้องเห็นพยานหลักฐาน และสถานที่เกิดเหตุเหมือนอัยการทุกประเทศ!

ขณะนี้เรื่องที่อยู่ในความสนใจของนักการเมืองรวมทั้งประชาชนก็คือ การเลือกตั้ง
พรรคใดจะได้ ส.ส.มากสุด มีโอกาสจัดตั้งรัฐบาลบริหารบ้านเมืองตามที่หาเสียงไว้ หรือจำเป็นต้องรวมกับใครที่มีแนวคิดเหมือนหรือต่างกันเพียงใด?

Read More

อัยการนานาชาติประหลาดใจ ‘อัยการไทย’ สั่งคดียุติธรรมได้อย่างไร เมื่อไม่มีโอกาสเห็นพยานหลักฐานและสถานที่เกิดเหตุ!

เมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2566 ระหว่าง 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้นสอง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) สถาบันนิติวัชร์ สำนักงานอัยการสูงสุดได้จัดงานเสวนาวิชาการเรื่อง “ บทบาทพนักงานอัยการในประเทศยุโรป อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้”

Read More

เมื่อองค์กรรักษากฎหมายกลายเป็น ‘รังโจร’ ‘พรรคใด’ สนใจ ‘ปฏิรูป บ้างหรือไม่?

        ไทยน่าจะเป็นประเทศเดียวในโลกที่มีองค์กรรักษากฎหมายซึ่งประชาชนไม่สามารถเชื่อถือและไว้วางใจได้!

Read More